หมายเหตุ : ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันสอบกลางภาค
แฟ้มสะสมงานรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอาทิตย์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 7
วันอังคารที่ 18 ธันวาคม 2555
หมายเหตุ: ไม่มีการเรียนการสอน
เนื่องจากอาจารย์ติดธุระและอาจารย์ได้ให้ทำงานที่มอบหมายไว้ให้
วันอาทิตย์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 6
วันอังคารที่ 11 ธันวาคม 2555
- ส่งแผนการจัดประสบการณ์หน่วยของตนเอง
- เอากล่องที่สั่งให้เอามา แล้วอ.ถามว่า
เห็นกล่องแล้วนึกถึงอะไร?
อยากให้กล่องนี้เป็นอะไร?
ใช้ทำอะไร?
การที่จะถามเด็กนั้น เราควรใช้คำถามที่เด็กรู้สึกไม่กดกัน ไม่กลัวผิด ใช้คำถามที่เด็กได้คิด ได้ตอบตามจินตนาการของ แล้วเด็กก็จะมีความสุขในการตอบ ไม่รู้สึกกลัวว่าจะตอบผิด เด็กจะเชื่อมโยงกับสิ่งที่เคยรู้มา เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้คิด
- การสอนคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัยนั้น ต้องสอนให้ถูกวิธีการเรียนรู้ ตามธรรมชาติของเด็ก ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
การต่อกล่อง
ครั้งที่ 1
- ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มกัน แล้วนำกล่องมาต่อ โดยไม่ปรึกษากัน ให้ต่อตามจินตนาการของตนเอง แล้วจะได้ผลงานมา 1 ชิ้น หลังจากนั้นก็ถามที่ละคน ว่าตอนที่กำลังจะต่อกล่อง อยากให้เป็นอะไร ซึ่งคำตอบของแต่ละคนไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับจินตนาการของคนต่อ
ครั้งที่ 2
- ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่ม ต่อกล่องโดยปรึกษากัน ว่าจะต่อเป็นรูปอะไร การต่อกล่องแบบนี้ จะทำให้เด็กเกิดการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น รู้จักการรอคอย และการต่อกล่องนี้ ยังช่วยเสริมประสบการณ์ทางด้านคณิตศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นการแยกประเภทของรูปทรงของกล่อง กานับกล่อง การวัด การจับคู่ เป็นต้น
ครั้งที่ 3
- ให้นักศึกษาทั้งห้อง เอาผลงานของแต่ละกลุ่มมารวมกันเป็นงานชิ้นเดียว และให้นำกล่องหรืออุปกรณ์ต่างๆที่มีอยู่มาประกอบการสร้างชิ้นงาน การต่อกล่องแบบนี้ เป็นการเสริททักษะทางคณิตศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นการจัดประเภทของกล่อง การจับคู๋ การวัด รูปทรงและเนื้อที่ เป็นต้น
- ส่งแผนการจัดประสบการณ์หน่วยของตนเอง
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยบ้าน |
เห็นกล่องแล้วนึกถึงอะไร?
อยากให้กล่องนี้เป็นอะไร?
ใช้ทำอะไร?
การที่จะถามเด็กนั้น เราควรใช้คำถามที่เด็กรู้สึกไม่กดกัน ไม่กลัวผิด ใช้คำถามที่เด็กได้คิด ได้ตอบตามจินตนาการของ แล้วเด็กก็จะมีความสุขในการตอบ ไม่รู้สึกกลัวว่าจะตอบผิด เด็กจะเชื่อมโยงกับสิ่งที่เคยรู้มา เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้คิด
- การสอนคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัยนั้น ต้องสอนให้ถูกวิธีการเรียนรู้ ตามธรรมชาติของเด็ก ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
การต่อกล่อง
ครั้งที่ 1
- ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มกัน แล้วนำกล่องมาต่อ โดยไม่ปรึกษากัน ให้ต่อตามจินตนาการของตนเอง แล้วจะได้ผลงานมา 1 ชิ้น หลังจากนั้นก็ถามที่ละคน ว่าตอนที่กำลังจะต่อกล่อง อยากให้เป็นอะไร ซึ่งคำตอบของแต่ละคนไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับจินตนาการของคนต่อ
ครั้งที่ 2
- ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่ม ต่อกล่องโดยปรึกษากัน ว่าจะต่อเป็นรูปอะไร การต่อกล่องแบบนี้ จะทำให้เด็กเกิดการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น รู้จักการรอคอย และการต่อกล่องนี้ ยังช่วยเสริมประสบการณ์ทางด้านคณิตศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นการแยกประเภทของรูปทรงของกล่อง กานับกล่อง การวัด การจับคู่ เป็นต้น
ครั้งที่ 3
- ให้นักศึกษาทั้งห้อง เอาผลงานของแต่ละกลุ่มมารวมกันเป็นงานชิ้นเดียว และให้นำกล่องหรืออุปกรณ์ต่างๆที่มีอยู่มาประกอบการสร้างชิ้นงาน การต่อกล่องแบบนี้ เป็นการเสริททักษะทางคณิตศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นการจัดประเภทของกล่อง การจับคู๋ การวัด รูปทรงและเนื้อที่ เป็นต้น
วันเสาร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 5
วันอังคารที่ 4 ธันวาคม 2555
-อาจารย์ให้ออกไปนำนำเสนองานที่สั่งในสัปดาห์ที่แล้ว (ความเรียง)
หน่วยบ้าน
วันนี้คุณครูจะมาสอนเด็กๆเรื่องบ้าน คุณครูจะนำภาพบ้านหลังใหญ่มา 1 หลัง ให้เด็กๆช่วยกันนับหน้าต่างของบ้านหลังนี้ว่ามีหน้าต่างทั้งหมดกี่บาน และเด็กๆเห็นบ้านเลขที่หลังนี้ไหมค่ะว่ามีตัวเลขอะไรบ้าง นอกจากตัวเลขแล้วเด็กๆ คิดว่าส่วนประกอบของบ้านมีรูปทรงอะไรบ้าง เมื่อคุณครูและเด็กร่วมกันพูดคุยเรื่องบ้านแล้ว คุณครูแบ่งเด็กเป็นกลุ่มละเท่าๆกัน โดยนำบัตรภาพรูปบ้านชนิดต่างๆมาให้เด็กแต่ละกลุ่ม คุณครูมีภาพบ้านอยู่ในตะกร้าและให้เด็กๆช่วยกันนำภาพตึกแถวออกมาวางบนโต๊ะและให้เด็กๆจับคู่ภาพตึกแถวที่มีสีเหมือนกัน จากนั้นคุณครูหยิบภาพบ้านที่อยู่ในตะกร้ามา 2 ภาพ ซึ่งมีขนาดแตกต่างกันให้เด็กๆสังเกตว่าภาพบ้านหลังไหนมีขนาดเล็กกว่ากัน ต่อจากนั้นครูนำภาพบ้าน 2 หลังมาติดบนกระดานให้มีระยะห่างกันโดยให้เด็กวัดความยาวจากการใช้นิ้วมือว่ามีความยาวเท่าไร คุณครูมีกิจกรรมให้เด็กๆวาดภาพต่อเติมภาพบ้านที่หายไปตามจิตนาการของเด็กๆและระบายสีให้สวยงาม